หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารศาสตร์
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2567
- รหัสหลักสูตรและชื่อหลักสูตร
รหัสหลักสูตร : 25470131103887
ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบริหารศาสตร์
ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Administrative Science
- ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม ภาษาไทย : ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (บริหารศาสตร์)
ชื่อย่อ ภาษาไทย : ปร.ด. (บริหารศาสตร์)
ชื่อเต็ม ภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy (Administrative Science)
ชื่อย่อ ภาษาอังกฤษ : Ph.D. (Administrative Science)
3.วิชาเอก บริหารศาสตร์
โดยมีจุดเน้นของการศึกษาค้นคว้าวิจัยดุษฎีนิพนธ์โดยใช้ศาสตร์ด้านการบริหารเป็นแกนกลางในการบริหารงานองค์การและกิจการสาธารณะเพื่อพัฒนาองค์ความรู้ด้านการบริหารโดยนักศึกษาสามารถเลือกจัดทำดุษฎีนิพนธ์ในประเด็นด้านการบริหารอุตสาหกรรมบริการ (Hospitality Administration) การบริหารการพัฒนาสุขภาวะ (Health Related Development Administration) การบริหารองค์การภาครัฐและเอกชน (Government and Non Government Administration) การบริหารเทคโนโลยี (Technology Administration) และการบริหารการเกษตร ทรัพยากร และสิ่งแวดล้อม (Agriculture, Resources and Environmental Administration)
- จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
แผน 1 แผน 1.1 48 หน่วยกิต
แผน 2 แผน 2.1 48 หน่วยกิต
- รูปแบบของหลักสูตร
- รูปแบบ หลักสูตรระดับปริญญาเอก 3 ปี
- ภาษาที่ใช้ หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
- การรับเข้าศึกษา รับนักศึกษาทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ
- ความร่วมมือกับมหาวิทยาลัยอื่น เป็นหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัย ที่จัดการเรียนการสอนโดยตรง
- การให้ปริญญากับผู้สำเร็จการศึกษา ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
- กำหนดเปิดสอน ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2567
6. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
6.1 อาจารย์ บุคลากรทางวิชาการและวิจัย
6.2 นักบริหาร ผู้บริหารหน่วยงาน เจ้าของกิจการ
7. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร
สภามหาวิทยาลัย ให้ความเห็นชอบ/อนุมัติหลักสูตร ในการประชุม ครั้งที่ 4/2567 เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2567
8. โครงสร้างหลักสูตร
- แผน 1 แผน 1
- วิชาที่ไม่นับหน่วยกิต (9) หน่วยกิต
- ดุษฎีนิพนธ์ 48 หน่วยกิต
รวมหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 48 หน่วยกิต
- แผน 2 แผน 1
- วิชาที่ไม่นับหน่วยกิต (9) หน่วยกิต
- วิชาเอก 12 หน่วยกิต
- ดุษฎีนิพนธ์ 36 หน่วยกิต
รวมหน่วยกิตตลอดหลักสูตร 48 หน่วยกิต
9. แผนการศึกษา
9.1 หลักสูตร แผน 1 แผน 1.1
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1
|
รหัสวิชา
|
ชื่อวิชา
|
หน่วยกิต
|
ทฤษฎี
|
ปฏิบัติ
|
ศึกษาด้วยตนเอง
|
31406001
|
การวิจัยเชิงปริมาณทางการบริหารขั้นสูง
|
(3)
|
(2)
|
(2)
|
(5)
|
31406002
|
สัมมนา 1
|
(1)
|
(0)
|
(2)
|
(1)
|
31406008
|
ดุษฎีนิพนธ์ 1
|
6
|
0
|
18
|
0
|
รวม
|
6
|
0
|
18
|
0
|
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
|
รหัสวิชา
|
ชื่อวิชา
|
หน่วยกิต
|
ทฤษฎี
|
ปฏิบัติ
|
ศึกษาด้วยตนเอง
|
31406003
|
สัมมนา 2
|
(1)
|
(0)
|
(2)
|
(1)
|
31406009
|
ดุษฎีนิพนธ์ 2
|
6
|
0
|
18
|
0
|
รวม
|
6
|
0
|
18
|
0
|
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1
|
|
รหัสวิชา
|
ชื่อวิชา
|
หน่วยกิต
|
ทฤษฎี
|
ปฏิบัติ
|
ศึกษาด้วยตนเอง
|
31406004
|
สัมมนา 3
|
(1)
|
(0)
|
(2)
|
(1)
|
31406010
|
ดุษฎีนิพนธ์ 3
|
6
|
0
|
18
|
0
|
รวม
|
6
|
0
|
18
|
0
|
|
|
|
|
|
|
|
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2
|
รหัสวิชา
|
ชื่อวิชา
|
หน่วยกิต
|
ทฤษฎี
|
ปฏิบัติ
|
ศึกษาด้วยตนเอง
|
31406005
|
สัมมนา 4
|
(1)
|
(0)
|
(2)
|
(1)
|
31406011
|
ดุษฎีนิพนธ์ 4
|
6
|
0
|
18
|
0
|
รวม
|
6
|
0
|
18
|
0
|
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1
|
|
รหัสวิชา
|
ชื่อวิชา
|
หน่วยกิต
|
ทฤษฎี
|
ปฏิบัติ
|
ศึกษาด้วยตนเอง
|
31406006
|
สัมมนา 5
|
(1)
|
(0)
|
(2)
|
(1)
|
31406012
|
ดุษฎีนิพนธ์ 5
|
12
|
0
|
36
|
0
|
รวม
|
12
|
0
|
36
|
0
|
|
|
|
|
|
|
|
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2
|
|
รหัสวิชา
|
ชื่อวิชา
|
หน่วยกิต
|
ทฤษฎี
|
ปฏิบัติ
|
ศึกษาด้วยตนเอง
|
31406007
|
สัมมนา 6
|
(1)
|
(0)
|
(2)
|
(1)
|
31406013
|
ดุษฎีนิพนธ์ 6
|
12
|
0
|
36
|
0
|
รวม
|
12
|
0
|
36
|
0
|
|
|
|
|
|
|
|
หมายเหตุ : ( ) เป็นรายวิชาที่ไม่นับหน่วยกิตและมีการประเมินผลการเรียนเป็นระบบ S และ U
9.2 หลักสูตร แผน 2 แผน 2.1
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1
|
รหัสวิชา
|
ชื่อวิชา
|
หน่วยกิต
|
ทฤษฎี
|
ปฏิบัติ
|
ศึกษาด้วยตนเอง
|
|
31406001
|
การวิจัยเชิงปริมาณทางการบริหารขั้นสูง
|
(3)
|
(2)
|
(2)
|
(5)
|
|
31406002
|
สัมมนา 1
|
(1)
|
(0)
|
(2)
|
(1)
|
|
31406014
|
ทฤษฎีและแนวคิดการบริหารและองค์การ
|
3
|
2
|
2
|
5
|
|
31406016
|
การวิเคราะห์สังคมเพื่อการบริหาร
|
3
|
2
|
2
|
5
|
|
รวม
|
6
|
4
|
4
|
10
|
|
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
|
|
รหัสวิชา
|
ชื่อวิชา
|
หน่วยกิต
|
ทฤษฎี
|
ปฏิบัติ
|
ศึกษาด้วยตนเอง
|
31406003
|
สัมมนา 2
|
(1)
|
(0)
|
(2)
|
(1)
|
31406015
|
การวิจัยเชิงคุณภาพทางการบริหารขั้นสูง
|
3
|
2
|
2
|
5
|
31406008
|
ดุษฎีนิพนธ์ 1
|
6
|
0
|
18
|
0
|
รวม
|
9
|
2
|
20
|
5
|
|
|
|
|
|
|
|
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1
|
รหัสวิชา
|
ชื่อวิชา
|
หน่วยกิต
|
ทฤษฎี
|
ปฏิบัติ
|
ศึกษาด้วยตนเอง
|
|
31406004
|
สัมมนา 3
|
(1)
|
(0)
|
(2)
|
(1)
|
|
31406017
|
การวิเคราะห์องค์การและการบริหาร
|
3
|
2
|
2
|
5
|
|
31406009
|
ดุษฎีนิพนธ์ 2
|
6
|
0
|
18
|
0
|
|
รวม
|
9
|
2
|
20
|
5
|
|
|
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2
|
รหัสวิชา
|
ชื่อวิชา
|
หน่วยกิต
|
ทฤษฎี
|
ปฏิบัติ
|
ศึกษาด้วยตนเอง
|
|
31406005
|
สัมมนา 4
|
(1)
|
(0)
|
(2)
|
(1)
|
|
31406010
|
ดุษฎีนิพนธ์ 3
|
6
|
0
|
18
|
0
|
|
รวม
|
6
|
0
|
18
|
0
|
|
|
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 1
|
รหัสวิชา
|
ชื่อวิชา
|
หน่วยกิต
|
ทฤษฎี
|
ปฏิบัติ
|
ศึกษาด้วยตนเอง
|
|
31406006
|
สัมมนา 5
|
(1)
|
(0)
|
(2)
|
(1)
|
|
31406011
|
ดุษฎีนิพนธ์ 4
|
6
|
0
|
18
|
0
|
|
รวม
|
6
|
0
|
18
|
0
|
|
ปีที่ 3 ภาคการศึกษาที่ 2
|
รหัสวิชา
|
ชื่อวิชา
|
หน่วยกิต
|
ทฤษฎี
|
ปฏิบัติ
|
ศึกษาด้วยตนเอง
|
31406007
|
สัมมนา 6
|
(1)
|
(0)
|
(2)
|
(1)
|
31406012
|
ดุษฎีนิพนธ์ 5
|
12
|
0
|
36
|
0
|
รวม
|
12
|
0
|
36
|
0
|
หมายเหตุ : ( ) เป็นรายวิชาที่ไม่นับหน่วยกิตและมีการประเมินผลการเรียนเป็นระบบ S และ U
10. อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ที่
|
ตำแหน่งทาวิชาการ
|
ชื่อ - สกุล
|
คุณวุฒิ
|
สาขาวิชา
|
สำเร็จการศึกษา
จาก
|
ปีพ.ศ.
|
1
|
รองศาสตราจารย์
|
นายเฉลิมชัย ปัญญาดี
|
ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต
|
ประชากรศึกษา
|
มหาวิทยาลัยมหิดล
|
2537
|
|
|
|
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
|
ประชากรศึกษา
|
มหาวิทยาลัยมหิดล
|
2531
|
|
|
|
วิทยาศาสตรบัณฑิต
|
จิตวิทยา
|
มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่
|
2527
|
|
|
|
ประกาศนียบัตรชั้นสูง
|
การบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน
|
สถาบันพระปกเกล้า
|
2550
|
2
|
รองศาสตราจารย์
|
นางบงกชมาศ
เอกเอี่ยม
|
Doctor of Philosophy
|
Sociology
|
Mississippi State University, U.S.A.
|
2544
|
|
|
|
สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต
|
สังคมวิทยา
|
มหาวิทยาลัยธรรม
ศาสตร์
|
2532
|
|
|
|
วิทยาศาสตรบัณฑิต
|
จิตวิทยา
|
มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
|
2528
|
3
|
อาจารย์
|
นายสมคิด
แก้วทิพย์
|
ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต
|
การวางแผนและพัฒนาชนบท
|
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
|
2541
|
|
|
|
เทคโนโลยีการเกษตรมหาบัณฑิต
|
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
|
สถาบันเทคโนโลยี การเกษตรแม่โจ้
|
2532
|
|
|
|
เทคโนโลยีการเกษตรบัณฑิต
|
บริหารธุรกิจเกษตร
|
สถาบันเทคโนโลยี การเกษตรแม่โจ้
|
2527
|
11. อาจารย์ผู้สอนในหลักสูตร
ที่
|
ตำแหน่งทางวิชาการ
|
ชื่อ - สกุล
|
คุณวุฒิ
|
สาขาวิชา
|
สำเร็จการศึกษา
จาก
|
ปีพ.ศ.
|
1
|
รองศาสตราจารย์
|
นายเฉลิมชัย ปัญญาดี
|
ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต
|
ประชากรศึกษา
|
มหาวิทยาลัยมหิดล
|
2537
|
|
|
|
ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต
|
ประชากรศึกษา
|
มหาวิทยาลัยมหิดล
|
2531
|
|
|
|
วิทยาศาสตรบัณฑิต
|
จิตวิทยา
|
มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่
|
2527
|
|
|
|
ประกาศนียบัตรชั้นสูง
|
การบริหารงานภาครัฐและกฎหมายมหาชน
|
สถาบันพระปกเกล้า
|
2550
|
2
|
รองศาสตราจารย์
|
นางบงกชมาศ
เอกเอี่ยม
|
Doctor of Philosophy
|
Sociology
|
Mississippi State University, U.S.A.
|
2544
|
|
|
|
สังคมวิทยาและมานุษยวิทยามหาบัณฑิต
|
สังคมวิทยา
|
มหาวิทยาลัยธรรม
ศาสตร์
|
2532
|
|
|
|
วิทยาศาสตรบัณฑิต
|
จิตวิทยา
|
มหาวิทยาลัย
ศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
|
2528
|
3
|
รองศาสตราจารย์
|
นายวินิจ
ผาเจริญ
|
Doctor of Philosophy
|
Political Science
|
Banaras Hindu University, India.
|
2557
|
|
|
|
รัฐศาสตรมหาบัณฑิต
|
การเมืองการปกครอง
|
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
|
2551
|
|
|
|
ศาสนศาสตรบัณฑิต
|
รัฐศาสตร์การปกครอง
|
มหาวิทยาลัยมหามกุฎราชวิทยาลัย
|
2548
|
4
|
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
|
นายสุริยจรัส
เตชะตันมีนสกุล
|
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
|
บริหารศาสตร์ (การบริหารองค์การภาครัฐและเอกชน)
|
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
|
2554
|
|
|
|
วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต
|
เศรษฐศาสตร์เกษตร
|
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
|
2542
|
|
|
|
รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
|
รัฐประศาสนศาสตร์
|
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
|
2553
|
|
|
|
วิทยาศาสตรบัณฑิต
|
เศรษฐศาสตร์ สหกรณ์
|
สถาบันเทคโนโลยี การเกษตรแม่โจ้
|
2539
|
5
|
ผู้ช่วยศาสตราจารย์
|
นายนนท์ น้าประทานสุข
|
Doctor of Philosophy
|
Asia Pacific Studies
|
National Chengchi University, Taiwan.
|
2557
|
|
|
|
Master of Public Administration
|
Public Administration
|
University of New Haven, U.S.A.
|
2546
|
|
|
|
ศิลปศาสตรบัณฑิต
|
ประวัติศาสตร์
|
มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่
|
2544
|
6
|
อาจารย์
|
นายสมคิด
แก้วทิพย์
|
ศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิต
|
การวางแผนและพัฒนาชนบท
|
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
|
2541
|
|
|
|
เทคโนโลยีการเกษตรมหาบัณฑิต
|
เศรษฐศาสตร์สหกรณ์
|
สถาบันเทคโนโลยี การเกษตรแม่โจ้
|
2532
|
|
|
|
เทคโนโลยีการเกษตรบัณฑิต
|
บริหารธุรกิจเกษตร
|
สถาบันเทคโนโลยี การเกษตรแม่โจ้
|
2527
|
7
|
อาจารย์
|
นายพิชญ์
จิตต์ภักดี
|
Doctor of Philosophy
|
Public Administration
|
Universiti Utara Malaysia, Malaysia.
|
2562
|
|
|
|
Master of Public Administration
|
Public Administration
|
University of Tasmania, Australia.
|
2553
|
|
|
|
รัฐประศาสนศาสตรบัณฑิต
|
รัฐประศาสนศาสตร์
|
มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่
|
2551
|
8
|
อาจารย์
|
นางสาวจริยา โกเมนต์
|
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต
|
บริหารศาสตร์ (การบริหารองค์การภาครัฐและเอกชน)
|
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
|
2562
|
|
|
|
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต
|
การบริหารองค์การภาครัฐและเอกชน
|
มหาวิทยาลัยแม่โจ้
|
2557
|
|
|
|
รัฐศาสตรบัณฑิต
|
รัฐศาสตร์
|
มหาวิทยาลัยรามคำแหง
|
2562
|
|
|
|
วิทยาศาสตรบัณฑิต
|
สังคมวิทยาและมานุษยวิทยา
|
มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่
|
2554
|
12. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
แผน 1 แผน 1.1
- มีคุณสมบัติตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาและระเบียบอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่เกี่ยวข้องและบังคับใช้ในขณะนั้น หรือ
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า สาขาวิชาสังคมศาสตร์ สังคมศาสตร์ประยุกต์ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ นโยบายสาธารณะ การบริหาร การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ หรือสาขาวิชาอื่น ๆ มีประสบการณ์การทำงานด้านการบริหารมาไม่น้อยกว่า 5 ปี
- จะต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าที่มีผลการเรียนดีมาก หรือ ปริญญาโทหรือเทียบเท่า
- จะต้องเป็นผู้ผ่านการทดสอบความรู้ภาษาอังกฤษ ตามเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศของมหาวิทยาลัยแม่โจ้
แผน 2 แผน 2.1
- มีคุณสมบัติตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาและระเบียบอื่น ๆ ของมหาวิทยาลัยแม่โจ้ที่เกี่ยวข้องและบังคับใช้ในขณะนั้น หรือ
- สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทหรือเทียบเท่า สาขาวิชาสังคมศาสตร์ สังคมศาสตร์ประยุกต์ รัฐศาสตร์ รัฐประศาสนศาสตร์ นโยบายสาธารณะ การบริหาร การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ หรือสาขาวิชาอื่น ๆ
- จะต้องเป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีหรือเทียบเท่าที่มีผลการเรียนดีมาก หรือ ปริญญาโทหรือเทียบเท่า
- จะต้องเป็นผู้ผ่านการทดสอบความรู้ภาษาอังกฤษ ตามเกณฑ์และเงื่อนไขที่กำหนดในประกาศของมหาวิทยาลัยแม่โจ้
ทั้งนี้หากผู้สมัครสำเร็จการศึกษาในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องแต่มิได้เป็นไปตามที่ได้ระบุไว้ ซึ่งเมื่อผ่านการสอบคัดเลือกเข้าศึกษาได้แล้ว อาจต้องศึกษารายวิชาเพิ่มเติมตามคำแนะนำของคณะกรรมการที่ปรึกษา ตามความเห็นชอบของอาจารย์ประจำหลักสูตร และหากไม่มีพื้นฐานทางด้านการบริหารอาจต้องศึกษารายวิชาเพิ่มเติมตามคำแนะนำของอาจารย์ประจำหลักสูตร
13. ค่าธรรมเนียมการศึกษา เทอมละ 85,000 บาท ระยะเวลาในการเรียน 3 ปี (6 เทอม)
14. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษา
แผน 1 แผน 1.1
- สอบผ่านภาษาอังกฤษตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่มหาวิทยาลัยกำหนด
- สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิขอทำดุษฎีนิพนธ์เสนอดุษฎีนิพนธ์
- สอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายจนบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับบัณฑิตศึกษา และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้ เกณฑ์การวัดผลสัมฤทธิ์ในการสอบประกอบด้วย องค์ความรู้ใหม่ ซึ่งพิจารณาจากข้อความแห่งการริเริ่ม
- ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศที่คณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษากำหนด อย่างน้อย 2 เรื่อง หรือ
- ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์เผยแพร่ในวารสารระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศที่คณะกรรมการกำหนด อย่างน้อย 1 เรื่อง และเป็นผลงานนวัตกรรม หรือผลงานสร้างสรรค์ ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ เชิงสังคมและเศรษฐกิจ อย่างน้อย 1 เรื่อง หรือได้รับสิทธิบัตร อย่างน้อย 1 สิทธิบัตร
กรณีผลงานนวัตกรรม หรือผลงานสร้างสรรค์ ดุษฎีนิพนธ์ต้องได้รับการประเมิน จากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกในสาขาเดียวกันหรือเกี่ยวข้องอย่างน้อย 3 คน ที่เป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับ โดยได้รับความเห็นชอบจากสภาสถาบันอุดมศึกษา
แผน 2 แบบ 2.1
- ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กำหนดในหลักสูตร โดยจะต้องได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า
- สอบผ่านภาษาอังกฤษตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่มหาวิทยาลัยกำหนด
- สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying examination) เพื่อเป็นผู้มีสิทธิขอทำดุษฎีนิพนธ์ เสนอดุษฎีนิพนธ์
- สอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้ายจนบรรลุผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับบัณฑิตศึกษา และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้ เกณฑ์การวัดผลสัมฤทธิ์ในการสอบประกอบด้วย องค์ความรู้ใหม่ซึ่งพิจารณาจากข้อความแห่งการริเริ่ม
- ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศที่คณะกรรมการมาตรฐานการอุดมศึกษากำหนด หรือได้รับสิทธิบัตร หรือเป็นผลงานนวัตกรรม หรือผลงานสร้างสรรค์ ที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ในเชิงพาณิชย์ เชิงสังคมและเศรษฐกิจ อย่างน้อย 1 เรื่อง
กรณีผลงานนวัตกรรม หรือผลงานสร้างสรรค์ ดุษฎีนิพนธ์ต้องได้รับการประเมินจากคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกในสาขาเดียวกันหรือเกี่ยวข้องอย่างน้อย 3 คน ที่เป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับ โดยได้รับความเห็นชอบจากสภาสถาบันอุดมศึกษา
15. ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (PLOs)
PLO
|
Learning Outcome Statement
|
Specific LO
|
Generic LO
|
Level
|
ผลลัพธ์การเรียนรู้ด้าน
|
1
|
สามารถประยุกต์ใช้แนวคิดทฤษฎี วิเคราะห์ และประเมิน เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ทางการบริหารศาสตร์
|
|
|
|
Knowledge
|
|
1.1 สามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีด้านการบริหารเพื่อการวิเคราะห์ประเด็นปัญหาและการพัฒนาองค์การ
|
?
|
|
E
|
Knowledge
|
|
1.2 สามารถวิเคราะห์ความเชื่อมโยงวิธีวิทยาการวิจัยกับการสร้างองค์ความรู้ด้านการบริหาร
|
?
|
|
C
|
Knowledge
|
|
1.3 สามารถประเมินความเหมาะสมในการพัฒนากรอบแนวคิดในการวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมด้านการบริหารศาสตร์
|
?
|
|
C
|
Knowledge
|
|
1.4 สามารถออกแบบกระบวนการและกลยุทธ์ในการพัฒนาองค์การให้มีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตามเป้าหมายขององค์การ
|
?
|
|
C
|
Knowledge
|
2
|
สามารถแก้ไขปัญหา เชื่อมโยง และออกแบบการบริหารองค์การให้สอดคล้องกับการเปลี่ยนแปลงโดยอาศัยการเรียนรู้ด้วยตนเองอย่างต่อเนื่อง และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ในการวิเคราะห์และสื่อสารกับบุคคลอื่น
|
|
|
|
Skills
|
|
2.1 สามารถเชื่อมโยงกระบวนการ ขั้นตอนตามวิธีวิทยาการวิจัยกับการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางการบริหารอย่างต่อเนื่อง
|
?
|
|
Nat
|
Skills
|
|
2.2 ชำนาญในการถ่ายทอดวิธีวิทยาการวิจัย โดยเฉพาะขั้นตอน กระบวนการวิจัย และกลยุทธ์การบริหาร สู่ผู้ร่วมงานและเครือข่ายได้อย่างชัดเจน
|
?
|
|
Nat
|
|
|
2.3 มุ่งมั่นพัฒนาตนเองในการเรียนรู้ด้วยตนเองที่เกื้อหนุนให้เกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Lifelong Education) โดยอาศัยความรู้ทั้งในด้านแนวคิด ทฤษฎี วิธีวิทยาการวิจัย และ การบูรณาการในการวิเคราะห์ การสัมมนาทางวิชาการ และการวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่อย่างต่อเนื่อง
|
?
|
|
Nat
|
Skills
|
|
2.4 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อการวิเคราะห์ข้อมูลการวิจัย และการสื่อสารการวิจัย รวมทั้งในการบริหารองค์การ
|
|
?
|
Nat
|
Skills
|
|
|
|
|
|
|
3
|
แสดงออกและให้ความสำคัญกับการรับรู้คุณค่า การจัดระบบคุณค่า และการสร้างลักษณะนิสัยที่ให้ความสำคัญกับจริยธรรม
|
|
|
|
Ethics
|
|
3.1 การรับรู้คุณค่า การมีจริยธรรมและจริยธรรมในการวิจัย
|
|
?
|
Val
|
Ethics
|
|
3.2 การปฏิบัติตามระเบียบ ข้อบังคับขององค์การ ซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ มีความรับผิดชอบ
|
|
?
|
Org
|
Ethics
|
|
3.3 มีจิตสาธารณะและรักษ์สิ่งแวดล้อม ไม่เอื้อประโยชน์แก่พวกพ้อง
|
|
?
|
Org
|
Ethics
|
4
|
มีคุณลักษณะผู้นำ และภาวะผู้นำ ทั้งในลักษณะส่วนบุคคลและด้านบริหารศาสตร์ โดยเฉพาะลักษณะการเป็นผู้นำด้านวิชาการและการบริหารองค์การ
|
|
|
|
Character
|
|
4.1 แสดงออกถึงคุณลักษณะบุคคลที่เป็นผู้นำที่มีภาวะผู้นำสูง โดยเฉพาะด้านการวิจัยและการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
|
|
?
|
Cha
|
Character
|
|
4.2 มุ่งมั่นและให้ความช่วยเหลือเพื่อชี้นำภารกิจด้านการบริหารเพื่อจูงใจให้เกิดการทำงานให้บรรลุเป้าหมาย/วัตถุประสงค์ขององค์การ
|
?
|
|
Cha
|
Character
|
ศึกษาข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ www.grad-sas.com